ขั้นตอนการทำงานของระบบสี Self-leveling epoxy
ตรวจสภาพพื้นผิวงานก่อนทำการ
- ทำการตรวจเช็คเปอร์เซ็นต์ ความชื้นบนพื้นผิวคอนกรีต
- ทำการเตรียมพื้นผิวด้วยการขัดหิน
- shot blast
การเตรืยมพื้นผิว
- มีการตรวจสอบความสั่นด้วยเครื่อง digital
- มีการใช้เครื่อง shot blast ยิงที่พื้นผิวมีการใช้เครื่องหินขัดพื้นผิว
- ไม่มีฝุ่น เหมาะกับสถานที่ ที่เน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม และสุขภาพทำงานได้รวดเร็ว ประหยัดเวลามีประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับการยึดเกาะพื้นผิวคอนกรีตกับสารเคลือบได้
- มีการใช้เครื่องหินขัดหน้าพื้นผิวให้เรียบเสมอกัน
- ทำความสะอาดพื้นผิวคอนกรีต
สภาพพื้นผิวหล้งที่มีการทำ ความสะอาดโดยพร้อมที่จะทำการลงสี ทำการลง epoxy primer เพื่อเกิดการ ยึดเกาะและประสานระหว่าง พื้นผิวกับสารตัวอื่นๆ ทั้งยัง ช่วยตรวจสอบความพรุนของ พื้นผิว โดยในกรณีนี้จะเกิด ฟองอากาศให้เห็น ทำการปรับพื้นผิวด้วย epoxy puty เพื่อทำการปรับพื้นผิวที่มีลักษณะเป็นหลุม บ่อให้พื้นผิวงานมีความเรียบ ที่สุด เท่าที่จะสามารถปรับได้
หมายเหตุ โดยทั้งหมดนี้พื้นผิวของ คอนกรีต มีผลต่อความเรียบ ของพื้นผิวงาน
ฃั้นตอนในการปรับแต่งพื้นผิว
- ทำการสำรวจดูพื้นผิวที่ทำ การปรับพื้นผิวแล้วว่ามีส่วน ใดเกิดส้น หรือ เป็นมุมที่ทำ ให้เห็นว่าไม่สวยงามต้องทำ การปรับปรุงแก้ไฃ
- ทำการข้ดพื้นผิวส่วนที่เป็นสัน หรือมุมนั้นออก
- ทำการโป้วเก็บบริเวณที่เป็น หลุมหรือแอ่งให้พื้นทั้งหมดดู เสมอกัน
- หลังจากที่ได้ทำการเก็บโป้วหรือขัดเรียบร้อยแล้ว จะต้องทำการขัดด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย เพื่อทำให้ เกิดรอยบนผิวฟิล์ม และจะทำให้เกิดการยึดเกาะที่ดีต่อ ชั้นของฟิล์มสีทำการลง epoxy mortar เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของพื้น และปรับพื้นผิวที่มีลักษณะเป็นหลุม ให้พื้นผิวงานมีความเรียบที่สุดเท่าที่จะสามารถปรับได้
- ทำการลง epoxy puty เพื่อปิดรูพรุนของพื้น
- ทำการ topcoat ด้วย cts floor-sl1 เป็นชั้นทับหน้า
- ทำการกลิ้งไล่ฟองอากาศด้วยลูกกลิ้งหนาม (sprite roller) เพื่อไล่ฟองอากาศ